Sustainable Development Objective 9: อุตสาหกรรม นวัตกรรม และโครงสร้างพื้นฐาน สหประชาชาติใน ประเทศไทย
สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) จัดรายการพูดคุยผ่านช่องทางออนไลน์ ในรายการ Future Talk by NXPO ครั้งที่ 6 ในประเด็น “ถอดกฎหมายฉบับสำคัญ พ.ร.บ.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์งานวิจัยและนวัตกรรม นำไทยก้าวข้ามประเทศกับดักรายได้ปานกลาง” หลังจากที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีมติเห็นชอบให้ประกาศใช้พระราชบัญญัติฯ นี้เป็นกฎหมาย ไปเมื่อวันที่ 17 กันยายน 2564 ที่ผ่านมา ซึ่ง สอวช. และ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) รวมถึงหน่วยงานในระบบวิจัยและนวัตกรรม ร่วมกันผลักดัน พ.ร.บ. ดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง โดยการพูดคุยในครั้งนี้ ได้รับเกียรติจาก รศ.ดร.พงศ์พันธ์ แก้วตาทิพย์ รองผู้อำนวยการ สกสว. เกียรติ รักษ์รุ่งธรรม ผู้อำนวยการบริหารโครงการพัฒนาวัคซีนโควิด-19 ศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และ ศ.ดร.
พิมพ์ใจ ใจเย็น คณบดีสำนักวิชาวิทยาศาสตร์และวิศวกรรมศาสตร์ชีวโมเลกุล สถาบันวิทยสิริเมธี (VISTEC) มาร่วมพูดคุย ดำเนินรายการโดย ดร. กิติพงค์ พร้อมวงค์ ผู้อำนวยการ สอวช. ตราบใดที่มนุษย์ยังไม่หยุดคิดค้น และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ นวัตกรรมก็ยังคงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง นอกจากเราจะมีสินค้าและบริการที่มีคุณภาพมากขึ้นแล้ว เรายังจะได้ประโยชน์จากการเกิดใหม่ของนวัตกรรมด้านต่างๆ ที่มีต่อชีวิตประจำวัน หลายนวัตกรรมสามารถช่วยแก้ปัญหาในชีวิตได้อย่างง่ายดาย อีกทั้งเมื่อนำมาประยุกต์ใช้ในด้านต่างๆ อย่างเหมาะสม ก็สามารถเพิ่มมูลค่าให้ผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการได้มากขึ้นด้วยเช่นกัน. จัดทำข้อเสนอนโยบายการขับเคลื่อนและพัฒนาระบบของสถาบันอุดมศึกษาและสถาบันวิจัยในระบบ อววน. ความเป็นมา หน่วย บพท.สารจากผู้อำนวยการวิสัยทัศน์และพันธกิจโครงสร้างองค์กรผู้บริหาร หน่วย บพท. ปัจจุบันเทคโนโลยีล้วนก้าวไปไกล และสิ่งอำนวยความสะดวกต่างๆ…